ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 12 - 72 ชม.
ตัวอย่างยานี้คือ ดูคูเซต (docusate-Colace, Diocto). ยาประเภททำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม (Stool softeners / Surfactants)
เช่น เอ ดี อี และ เค น้อยลงอาจทำให้ร่างกายขาดไวตามินเหล่านี้ได้
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 6 - 8 ชม.
ตัวอย่างยานี้คือน้ำมันแร่ (mineral oil) ผลข้างเคียงจากการใช้ยานี้คือ ทำให้การดูดซึมไวตามินประเภทที่ละลายในน้ำมัน ยาประเภทหล่อลื่น (Lubricants / Emollient)
ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
เกลือยิปซั่ม (Epsom salt) ยาประเภทเพิ่มปริมาตรน้ำ (Hydrating agents (osmotics))
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
โมโนเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Monobasic sodium phosphate)
ไดเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Dibasic sodium phosphate)
แมกนีเซียม ซิเตรต (Magnesium citrate)
มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
แมกนีเซียม ซัลเฟต (Magnesium sulphate)
โซเดียม ไบฟอสเฟต (Sodium biphosphate)
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
ตัวอย่างยาเหล่านี้เป็นยาประเภทยาเหนบ (suppositories)ได้แก่
กลีเซอรีน (Glycerin)
แลคตูโลส (Lactulose) ประเภทกระตุ้น (Stimulant / Irritant)
No comments:
Post a Comment