เพิ่มปริมาณอุจจาระ (Bulk-producing agents)
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 12 - 72 ชม.
ตัวอย่างยานี้คือ ดูคูเซต (docusate-Colace, Diocto). ยาประเภททำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม (Stool softeners / Surfactants)
เช่น เอ ดี อี และ เค น้อยลงอาจทำให้ร่างกายขาดไวตามินเหล่านี้ได้
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 6 - 8 ชม.
ตัวอย่างยานี้คือน้ำมันแร่ (mineral oil) ผลข้างเคียงจากการใช้ยานี้คือ ทำให้การดูดซึมไวตามินประเภทที่ละลายในน้ำมัน ยาประเภทหล่อลื่น (Lubricants / Emollient)
ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
เกลือยิปซั่ม (Epsom salt) ยาประเภทเพิ่มปริมาตรน้ำ (Hydrating agents (osmotics))
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้เล็ก และ ลำไส้ใหญ่
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
ตัวอย่างยาเหล่านี้คือ
โมโนเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Monobasic sodium phosphate)
ไดเบซิก โซเดียม ฟอสเฟต (Dibasic sodium phosphate)
แมกนีเซียม ซิเตรต (Magnesium citrate)
มิลค์ออฟแมกนิเซีย (Milk of Magnesia)
แมกนีเซียม ซัลเฟต (Magnesium sulphate)
โซเดียม ไบฟอสเฟต (Sodium biphosphate) ยาประเภทน้ำเกลือ (Saline)
ตำแหน่งออกฤทธิ์ยา: ลำไส้โคลอน (Colon)
ช่วงเวลาออกฤทธิ์: 0.5 - 3 ชม.
ตัวอย่างยาเหล่านี้เป็นยาประเภทยาเหนบ (suppositories)ได้แก่
กลีเซอรีน (Glycerin)
แลคตูโลส (Lactulose) ประเภทกระตุ้น (Stimulant / Irritant)
Wednesday, October 3, 2007
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment